UCBP
เกี่ยวกับ
กระบวนการ
ความเป็นมาของกระบวนการ
มาทำความรู้จักกับจุดเริ่มต้นของโครงการ UCBP กัน
ขั้นตอนในกระบวนการ
กว่าจะได้สิทธิการรักษามาให้ประชาชนได้ใช้ฟรีกันหนึ่งสิทธิ ต้องผ่านขั้นตอนอะไรบ้าง
วิธีการเสนอหัวข้อปัญหาและเทคโนโลยีด้านสุขภาพ
มาดูกันว่าใครสามารถเสนอหัวข้อปัญหาและเทคโนโลยีด้านสุขภาพได้บ้าง เสนอได้อย่างไร อะไรเป็นเกณฑ์ที่ได้รับคัดเลือกและถูกคัดออก
คณะทำงานที่เกี่ยวข้องและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
การพิจารณาสิทธิในโครงการ UCBP มีใครอยู่เบื้องหลังบ้าง และใครมีส่วนได้ส่วนเสียจากงานนี้
การเสนอหัวข้อปัญหา
สถานะหัวข้อ
สถานะหัวข้อที่ผ่านการพิจารณาคัดเลือกหัวข้อ
ทีมวิจัย
เครือข่ายทีมวิจัยโครงการ UCBP
รายชื่อเครือข่ายทีมวิจัยของโครงการ UCBP
ประกาศรับสมัครทีมวิจัย
หากคุณต้องการเป็นส่วนหนึ่งของโครงการ ส่งใบสมัครของคุณได้ที่นี่
สื่อประชาสัมพันธ์
สื่อประชาสัมพันธ์กระบวนการ
ดูคลิปวีดีโอเพื่อช่วยให้คุณเข้าใจกระบวนการ UCBP ได้ง่ายขึ้นได้ที่นี่
สื่อประชาสัมพันธ์งานวิจัย
สื่อต่าง ๆ ของงานวิจัย ที่เกี่ยวข้องกับโครงการ รวบรวมไว้แล้วที่นี่
รายงานการประชุมเกี่ยวกับหัวข้อปัญหา
ในการประชุมเกี่ยวกับหัวข้อปัญหาและเทคโนโลยีด้านสุขภาพ มีประเด็นอะไรบ้าง ที่ถกเถียงกันเพื่อให้ได้สิทธิประโยชน์มาอ่านได้เลยที่นี่
เอกสารอื่น ๆ
สามารถอ่านข่าวสารการเพิ่มสิทธิประโยชน์ของบัตรทองและข่าวสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้ที่นี่
ขนาดตัวอักษร
ขนาดปกติ
ขนาดใหญ่
เปลี่ยนการแสดงผล
ปกติ
ขาวดำ
เหลืองดำ
ก
ก
ขนาดตัวอักษร
ขนาดปกติ
ขนาดใหญ่
เปลี่ยนการแสดงผล
ปกติ
ขาวดำ
เหลืองดำ
หน้าหลัก
เกี่ยวกับกระบวนการ
คณะทำงานที่เกี่ยวข้องและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
การพิจารณาสิทธิประโยชน์ในโครงการ UCBP มีใครอยู่เบื้องหลังบ้าง และใครมีส่วนได้ส่วนเสียจากงานนี้
คณะทำงาน
ที่เกี่ยวข้อง
ผู้มีส่วนได้
ส่วนเสีย
คณะทำงานที่เกี่ยวข้อง
คณะทำงานที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ฯ มีดังนี้
คณะทำงานคัดเลือกหัวข้อเข้าสู่การประเมินความจำเป็นและผลกระทบฯ
หน้าที่หลัก
จัดลำดับความสำคัญ และ
คัดเลือกหัวข้อปัญหาสุขภาพและเทคโนโลยีด้านสุขภาพฯ เข้าสู่การประเมินความจำเป็นและผลกระทบ และรายงานต่ออนุกรรมการกำหนดประเภทและขอบเขตในการให้บริการสาธารณสุขฯ เพื่อพิจารณา
คณะทำงานด้านเศรษฐศาสตร์
สาธารณสุขฯ
หน้าที่หลัก
จัดให้มีการประเมิน ความคุ้มค่า และการศึกษาวิจัยประเมินผล รวมทั้ง ตรวจสอบความถูกต้องของระเบียบวิธีการวิจัย เพื่อควบคุมคุณภาพ และสรุปผลการประเมินทางเศรษฐศาสตร์ ผลกระทบ และความเป็นไปได้ในการดำเนินการจัดบริการด้านสุขภาพ เพื่อกำหนดประเภทและขอบเขตในการให้บริการสาธารณสุข
คณะทำงานประเมินประสิทธิผลของความครอบคลุมในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
หน้าที่หลัก
ประเมินประสิทธิผลของความครอบคลุม และรายงานผลการประเมิน ของความครอบคลุมหลักประกันสุขภาพ ผลกระทบ และความเป็นไปได้ในการจัดบริการเพื่อให้ประชาชนเข้าถึงบริการ
คณะทำงานอื่น ๆ
คณะทำงานพัฒนาระบบบริการและประเภทและขอบเขตบริการสาธารณสุขในการดูแลรักษา
โรคหายากในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
หน้าที่หลัก
พิจารณาและเสนอหัวข้อบริการดูแลโรคหายาก เข้าสู่การประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพ และเสนอการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขที่มีความชัดเจนและเชื่อมโยงกันทั้งระบบ และ 3 กองทุน รวมทั้งจัดทำข้อเสนอการพัฒนาระบบสนับสนุนต่าง ๆ เช่น ระบบการลงทะเบียนผู้ป่วย ฐานข้อมูลบริการ การกำกับติดตาม เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงบริการตามประเภทและขอบเขตในการให้บริการสาธารณสุข
คณะทำงานพัฒนาระบบบริการและประเภทและขอบเขตบริการสาธารณสุขด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
หน้าที่หลัก
วิเคราะห์และจัดทำข้อเสนอในการพัฒนาระบบบริการ ประเภท กลไกการจัดการ และขอบเขตบริการสาธารณสุขด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ที่ประชาชนยังมีปัญหา ในการเข้าถึงบริการ
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย คือ กลุ่มผู้มีสิทธิเสนอหัวข้อปัญหาและ/หรือเทคโนโลยีด้านสุขภาพในกระบวนการพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ฯ มีทั้งหมด 7 กลุ่มใหญ่ ได้แก่
1
ผู้กำหนดนโยบาย
หน่วยงานระดับกรมในกระทรวงสาธารณสุข
สำนักงานประกันสังคม
กรมบัญชีกลาง
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
2
ผู้เชี่ยวชาญด้านการแพทย์
ราชวิทยาลัยและสมาคมด้านการแพทย์
3
นักวิชาการด้านสาธารณสุข
คณะสาธารณสุขศาสตร์
คณะเภสัชศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะเศรษฐศาสตร์ที่มีหลักสูตร เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข
4
ภาคประชาสังคม
องค์กรเอกชนที่ไม่แสวงหากำไรในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
เครือข่ายผู้ป่วย
เครือข่ายผู้ป่วยในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ประชาชนทั่วไป
กลุ่มประชาชนจากเวทีประชุมรับฟังความเห็นทั่วไปประจำปี
5
ภาคอุตสาหกรรมเครื่องมือแพทย์
สมาคมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีเครื่องมือแพทย์ไทย
6
คณะกรรมการ/ คณะอนุกรรมการและคณะทำงานที่เกี่ยวข้อง (สปสช.)
7
นวัตกรรมทางการแพทย์
ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (TCELS)
สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (NIA)
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.)
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
การค้นหา
คีย์เวิร์ดแนะนำ
บัตรทอง
สถานะหัวข้อสิทธิประโยชน์